Category: ข่าว

เกษตรกรต้องรู้: 12 บทเรียนสำคัญสู่การเป็น “นักธุรกิจเกษตรมืออาชีพ”

เรื่องโดย : อภิรดี ตรีรัตน์เกื้อกูล กลุ่มเกษตรและความปลอดภัยด้านอาหาร กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร่วมกับองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ภายใต้โครงการพัฒนาระบบการผลิตกาแฟของผู้ประกอบการรายย่อย ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ คอฟฟี่พลัส (Coffee+) เปิดตัวสื่อการเรียนการสอนรูปแบบแอนิเมชั่นออนไลน์สำหรับหลักสูตร “โรงเรียนธุรกิจสำหรับเกษตรกร” (Farmer Business School: FBS) https://www.youtube.com/embed/zb4H05I87Dc หลักสูตรออนไลน์นี้ได้รับการออกแบบเพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรรายย่อยเรียนรู้วิธีการต่อยอดความรู้และทักษะสู่การเป็นผู้ประกอบการเกษตรเชิงธุรกิจ (Agri-preneurship) และมีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practice: GAP) เนื้อหาของวิดีโอมุ่งเน้นให้เกษตรกรผู้ปลูกกาแฟรายย่อย โดยเฉพาะผู้ปลูกกาแฟโรบัสต้าทางจังหวัดภาคใต้ของไทย สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปสู่การลงมือปฏิบัติผ่านการใช้เแบบฝึกหัดเป็นตัวเสริมสร้างความรู้และทักษะที่สำคัญในการทำเกษตรเชิงธุรกิจ รวมทั้งการทำกิจกรรมต่างๆ เช่น ปฏิทินเกษตร การจดบันทึกกิจการฟาร์ม การทำรายรับและรายจ่าย

กระทรวงเกษตรฯ จับมือจีไอแซด ชูเทคโนโลยีปรับระดับพื้นที่ด้วยระบบเลเซอร์ช่วยชาวนาลดโลกร้อน

เรื่อง: ณัฐฐา ลือชาติเมธิกุล โครงการไทยไรซ์ นามา โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดภาวะโลกร้อนจากการทำนาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ “ไทย ไรซ์ นามา” (Thai Rice NAMA) พร้อมสนับสนุนให้เกษตรกรปรับระดับพื้นที่นาด้วยระบบเลเซอร์ โดยมีเป้าหมายโครงการกว่า 280,000 ไร่  เพิ่มโอกาสในการพัฒนาศักยภาพด้านการผลิตข้าวของไทย พระนครศรีอยุธยา, 17 มีนาคม 2564 – กรมการข้าว ร่วมกับองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประจำเทศไทย ภายใต้โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดภาวะโลกร้อนจากการทำนาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ “ไทย ไรซ์ นามา” (Thai Rice NAMA)

เปิดตัว “i-PALM” แอพพลิเคชั่น พร้อมให้เกษตรกรสวนปาล์มไทยใช้งานได้แล้ว

เรื่อง: ธิตินัย พงศ์พิริยะกิจ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) โครงการการผลิตปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย (Sustainable and Climate-Friendly Palm Oil Production and Procurement: SCPOPP) พร้อมเปิดตัวแอพพลิเคชั่น i-PALM เพื่อบันทึกข้อมูลการเพาะปลูกของพวกเขา เพื่อปรับปรุงผลผลิต เว็บไซต์ “i-PALM” ปัจจุบันมีเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันกว่า 3,200 รายในจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี และกระบี่ที่ได้รับการอบรมจากโครงการฯ พร้อมใช้งานแอพพลิเคชั่นนี้ในระยะแรก แอพพลิเคชั่น “i-PALM” บนมือถือ แอพพลิเคชั่น i-PALM ได้รับการออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มได้เรียนรู้วิธีเก็บข้อมูลที่ เช่น ปริมาณปุ๋ยที่เหมาะสม

แปลงนารักษ์โลกกับการลดก๊าซเรือนกระจก

เรื่อง: ศักดิธัช ขวัญใจธัญญา องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ยามเช้าที่แปลงนาของผู้ใหญ่ ถาวร คำแผง ที่ตำบลเดิมบาง อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรีดูจะคึกคักเป็นพิเศษ มีเจ้าหน้าที่จากสถาบันวิจัยข้าวสุพรรณบุรีเข้ามาที่นาตั้งแต่เช้ามืดเพื่อทำการตรวจวัดก๊าซเรือนกระจกแปลงนาของผู้ใหญ่ถาวรนั้นเป็นแปลงสาธิตการทำนาแบบรักษ์โลกซึ่งอยุ่ ภายใต้ความร่วมมือระหว่างองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประจำประเทศไทย สถาบันวิจัยข้าวระหว่างประเทศ (International Rice Research Institute: IRRI) และ กรมการข้าว ซึ่งถ้าหากผู้สัญจรไปมาผ่านแปลงนาของผู้ใหญ่ถาวรก็จะสังเกตุเห็นกล่องใสสีขาวที่ตั้งอยู่กระจายไปทั่วแปลงนา กล่องพวกนี้มีหน้าที่ในการกักเก็บก๊าซต่าง ๆ ที่ถูกปล่อยออกมาจากนาข้าว เพื่อนำมาใช้ในการตรวจวัดก๊าซเรือนกระจก การตรวจวัดก๊าซเรือนกระจก มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมการเพาะปลูกข้าวยั่งยืน และการพัฒนาระบบตรวจวัด รายงานผล และทวนสอบ (Monitoring,

ภาคธุรกิจเสนอแนวทางผนึกกำลังยกระดับตลาดน้ำมันปาลม์ไทยสู่วิถียั่งยืน

เขียนโดย : Agriculture and Food Cluster Team วงสัมมนาธุรกิจปาล์มชี้ชัด ภาครัฐ นักธุรกิจ และผู้บริโภค เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญต่อการสนับสนุนน้ำมันปาล์มยั่งยืนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย ด้วยการเรียกร้องบริษัทสินค้าโปรดของพวกเขา และช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อยให้เข้าถึงตลาดโลกผ่านการรับรองมาตรฐานสากลของ RSPO ผู้แทนจากสถานทูตเยอรมันประจำประเทศไทย ผู้บริหาร GIZ ประเทศไทย และ องค์กรเจรจาระหว่างประเทศด้านปาล์มน้ำมันยั่งยืน (RSPO) ให้เกียรติถ่ายภาพหมู่ร่วมกัน (ภาพจากซ้ายไปขวา) ดร.แบนท์ คริสเตียนเซน ที่ปรึกษาทูตฝ่ายอาหารและการเกษตร สถานเอกอัครราชทูตเยอรมนี ประจําประเทศไทย คุณปราการ วีรกุล ที่ปรึกษา สํานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ประเทศไทยเปิดเวทีหารือแนวทางการดำเนินงานในประเทศขับเคลื่อนมาตรฐานข้าวที่ยั่งยืน

เรื่อง: สริดา คณานุศิษฎ์ ที่ปรึกษามาตรฐานการผลิตข้าวที่ยั่งยืน คณะทำงานการขับเคลื่อนมาตรฐานข้าวที่ยั่งยืนโดยกรมการข้าวและองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประจำประเทศไทยจัดการประชุมเพื่อสรุปแนวทางการดำเนินงานและถอดบทเรียนเกี่ยวกับการผลิตข้าวที่ยั่งยืนเมื่อเร็ว ๆ นี้ ที่กรมการข้าว  คณะทำงานระดับชาติด้านการผลิตข้าวที่ยั่งยืนในประเทศไทยประกอบไปด้วย สมาคมการตลาดเกษตรและอาหารแห่งภูมิภาคเอเซียแปซิฟิค สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ไบเออร์ คอนโทรล ยูเนี่ยน คอเทวา อะกริไซแอนส์ ฟู๊ดเทค โซลูชั่น องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน โกลบอล จี เอ พี เอลล์บา บางกอก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บริษัท ข้าว ซีพี จำกัด สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ บริษัท